อ่านข่าว

วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

สาเหตุการเสื่อมอำนาจของอยุธยา

15 สาเหตุการเสื่อมอำนาจของอยุธยา
กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรของคนไทยเป็นระยะเวลายาวนาน 417 ปี (พ.ศ.1893-2310) พระมหากษัตริย์ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยา
คือ พระเจ้าอู่ทอง หรือสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 อาณาเขตของกรุงศรีอยุธยาแผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางมากที่สุด
ในรัชสมัยของพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ.2133-2148) อาณาจักรกรุงศรีอยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด
ทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม การค้าขายและการเจริญไมตรีกับต่างประเทศ ในรัชสมัยของพระนารายณ์มหาราช(พ.ศ.2199-2231)
ความเสื่อมของอยุธยา กรุงศรีอยุธยาเสียเอกราชให้แก่พม่า 2 ครั้ง
   ครั้งแรก นสมัยสมเด็จพระมหินทราธิราชเมื่อพ.ศ.2112
   ครั้งที่ 2 ในรัชสมัย สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) เมื่อ พ.ศ.2310
สาเหตุการเสื่อมอานาจของกรุงศรีอยุธยา
 ความเสื่อมอานาจทางการเมือง มีการแก่งแย่งชิงอานาจใหม่ในหมู่ขุนนางข้าราชการและพระบรมวงศานุวงศ์อยู่เนืองๆ
มีการกาจัดศัตรูทางการเมือง ทำให้กาลังทหารถูกบั่นทอนความเข็มแข็งลงไปมาก
 ความอ่อนแอของพระมหากษัตริย์ พระเจ้าเอกทัศน์ทรงขาดความสามารถในด้านการเป็นผู้นำ
กองทหารไม่ได้รับการฝึกฝนให้เตรียมพร้อมในการทำศึกสงคราม และมีปัญหาวินัยหย่อนยาน
 การที่ไทยว่างเว้นจากสงครามมาเป็นเวลานาน ทำให้เกิดความประมาทในการป้องกันพระราชอาณาจักร
ขาดการฝึกปรือกาลังทัพและการวางแผนการยุทธที่ดี ทำให้เกิดความไร้ประสิทธิภาพในการทาสงครามป้องกันพระนคร
เมื่อพม่ายกกาลังมาล้อมกรุงศรีอยุธยาก่อนจะเสียกรุงใน พ.ศ.2310
 พม่าเปลี่ยนแผนยุทธศาสตร์ไปจากเดิม คือ ยกทัพกวาดต้อนผู้คน สะสมเสบียงอาหารลงมาจากหัวเมืองฝ่ายเหนือและขึ้นมาจากหัวเมืองฝ่ายใต้
ตัดขาดหัวเมืองรอบนอกมิให้ติดต่อและช่วยเหลือเขตราชธานีได้ และพร้อมที่จะรบตลอดทั้งปี โดยไม่คำนึงว่าจะเป็นฤดูฝนหรือฤดูน้าหลาก
ซึ่งแผนยุทธศาสตร์นี้ต่างไปจากเดิมที่มักจะยกเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์และเข้ามาทางเดียว และเมื่อถึงฤดูน้าเหนือหลากลงมาท่วมก็ยกทัพกลับ
ทำให้ไทยวางแผนการตั้งรับผิดพลาดหมด
– กรุงศรีอยุธยาถูกปิดล้อมทางเศรษฐกิจโดยกองทัพพม่า ทั้งจากทางเหนือและใต้ รวมทั้งต้องทาศึกระยะยาวนานนับปี ทาให้กรุงศรีอยุธยาเกิดขาดแคลนเสบียงอาหารอันนาไปสู่ความอ่อนแอต่อกาลังทัพและผู้คนของไทย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น